โพชฌังคปริตร โพชฌังคปริตร
โพชฌังโค สะติสังขาโต โพชฌงค์ กล่าวคือ สติ ธัมมานัง วิจะโย ตะถา ธัมมวิจยะ วิริยัมปิติปัสสัทธิ วิริยะ ปีติ ปัสสัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร และโพชฌงค์อื่นอีก 2 สะมาธุเปกขะโพชฌังคา คือ สมาธิ และ อุเบกขา สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมะทักขาตา ธรรม 7 ประการนี้ อันพระมุนี ทรงเห็นทั่ว ตรัสไว้ชอบแล้ว ภาวิตา พะหุลีกะตา ทรงบำเพ็ญ กระทำให้มากแล้ว สังวัตตันติ อะภิญญายะ ย่อมเป็นไป เพื่ออภิญญา นิพพานายะ จะ โพธิยา เพื่อพระนิพพาน และโพธิญาณ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ด้วยการกล่าวสัจวาจานี้ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด เอกัสมิง สะมะเย นาโถ สมัยหนึ่ง พระโลกนาถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระกัสสปะ อาพาธ เป็นทุกข์ โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ จึงทรงแสดงโพชฌมงค์ 7 ให้ฟัง เต จะ ตัง อะภินันทิตวา พระเถระทั้ง 2 ยินดีพุทธภาษิตนั้น เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ด้วยการกล่าวสัจวาจานี้ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด เอกะทา ธัมมะราชาปิ คราวหนึ่ง องค์พระธรรมราชา เอง เคลัญเญนาภิปีฬิโต ทรงพระประชวรไข้ จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทิรัง รับสั่งให้พระจุนทเถระกล่าวโพชฌงค์ 7 นั้น ถวายโดยเคารพ สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส ทรงบันเทิง พระหฤทัย หายจากพระประชวร โดยจริงแท้ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ด้วยการกล่าวสัจวาจานี้ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด ปะหีนา (อ่านว่า ปะ-ฮี-นา) เตจะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง ก็ อาพาธเหล่านั้น อันมหาฤษี ทั้ง 3 ละได้แล้ว ไม่กลับเป็นอีก มัคคาหะตะกิเลสา วะ ดุจกิเลสที่อริยมรรคกำจัดแล้ว ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง ถึงความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา เอเตนะสัจจะวัชเชนะ ด้วยการกล่าววาจานี้ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทะ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด |